ศึกษาเกี่ยวกับความหมาย ทฤษฎี แนวความคิด และขอบข่ายของวิชารัฐศาสตร์ แนวคิดพื้นฐานของรัฐกับสังคม ความหมายของรัฐศาสตร์วิวัฒนาการและขอบเขตของวิชารัฐศาสตร์ แนวการศึกษาทางรัฐศาสตร์ สาขาและเนื้อหาในรัฐศาสตร์ ความสัมพันธ์ระหว่างรัฐศาสตร์กับศาสตร์สาขาอื่น รัฐและรูปแบบการปกครอง แนวคิดทางการเมือง อุดมการณ์ทางการเมือง สถาบันทางการเมือง พรรคการเมือง บทบาทของพรรคการเมือง ระบบการเลือกตั้ง กลุ่มผลประโยชน์ การมีส่วนร่วมทางการเมืองและท้องถิ่น จุดมุ่งหมายของรัฐ หน้าที่ของรัฐ ความเป็นพลเมือง ตลอดจนแนวความคิดเกี่ยวกับสิทธิ เสรีภาพของพลเมือง แนวความคิดเกี่ยวกับสิทธิ เสรีภาพของพลเมือง ตลอดจนความสัมพันธ์ระหว่างประเทศและการเมืองโลก และประชาคมระหว่างประเทศและองค์การระหว่างประเทศและภูมิภาคอาเซียน
โดยใช้กระบวนการคิด การบวนการสืบค้นข้อมูล กระบวนการปฏิบัติ กระบวนการกลุ่มกระบวนการทางสังคม กระบวนการเผชิญสถานการณ์และแก้ปัญหาโดยใช้ทักษะชีวิต
เพื่อให้มีความรู้ ความเข้าใจ ความหมาย ทฤษฎี แนวคิดพื้นฐานของรัฐกับสังคม ความหมายของรัฐศาสตร์วิวัฒนาการและขอบเขตของวิชารัฐศาสตร์ แนวการศึกษาทางรัฐศาสตร์ สาขาและเนื้อหาในรัฐศาสตร์ ความสัมพันธ์ระหว่างรัฐศาสตร์กับศาสตร์สาขาอื่น รัฐและรูปแบบการปกครอง แนวคิดทางการเมือง อุดมการณ์ทางการเมือง สถาบันทางการเมือง พรรคการเมือง บทบาทของพรรคการเมือง ระบบการเลือกตั้ง กลุ่มผลประโยชน์ การมีส่วนร่วมทางการเมืองและท้องถิ่น จุดมุ่งหมายของรัฐ หน้าที่ของรัฐ ความเป็นพลเมือง ตลอดจนแนวความคิดเกี่ยวกับสิทธิ เสรีภาพของพลเมือง แนวความคิดเกี่ยวกับสิทธิ เสรีภาพของพลเมือง ตลอดจนความสัมพันธ์ระหว่างประเทศและการเมืองโลก และประชาคมระหว่างประเทศและองค์การระหว่างประเทศและภูมิภาคอาเซียน