บทเรียนออนไลน์ ส 32103  เศรษฐศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.4 - 6)

หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 นโยบายการเงิน การคลังกับการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ

Keywords : นโยบายการเงิน | นโยบายการคลัง | การกระจายรายได้ | เสถียรภาพทางเศรษฐกิจ 

นายมงคล สุขีลักษณ์  กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม โรงเรียนวัชรวิทยา

สำหรับการจัดการเรียนการสอนภายในโรงเรียน (@wr.ac.th) เท่านั้น

มาตรฐาน / ตัวชี้วัด หน่วยการเรียนรู้ที่  4 

เมื่อนักเรียนเรียนจบ Learning unit 4 :  นโยบายการเงิน การคลังกับการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ นักเรียนจะสามารถ

สาระการเรียนรู้

PPT for tech unit4  by T.NINE Only  Click65  Click64   Cilck file02

Learning unit 4 :  นโยบายการเงิน การคลังกับการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ 

PowerPoint ประกอบการเรียนรู้  Learning unit 4 : นโยบายการเงิน การคลังกับการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ  ฉบับเผยแพร่ 2565

หน่วย 4 ตัวชี้วัดความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ ภาคคำนวน.pdf

ตอนที่ 8 : ตัวชี้วัดความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ  ภาคคำนวน ฉบับสอบเข้ามหาวิทยาลัย คลิกเพื่อเปิดเอกสาร  คลิกฉบับเผยแพร่

[สำหรับ ปี 2563 - 2564] PowerPoint เอกสารประกอบการเรียนรู้ และใบงาน  Learning unit 4 : นโยบายการเงิน การคลังกับการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ

เอกสารประกอบการเรียน Learning unit 4 :  นโยบายการเงิน การคลังกับการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ [2564]   คลิกเพื่อเปิดเอกสาร

หน่วย 4 ต้นฉบับเอกสารสอนนักเรียน 32103.pdf

แผนผังความคิด Learning unit 4 :  นโยบายการเงิน การคลังกับการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ   คลิกเพื่อเปิดเอกสาร

สรุปหน่วย 4.pdf

วีดีโอสำหรับการสอนแบบห้องเรียนกลับด้าน Learning unit 4 : นโยบายการเงิน การคลังกับการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ

แผนผังความคิด (Mindmapping) Learning unit 4 : นโยบายการเงิน การคลังกับการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ

วีดีโอศึกษาเพิ่มเติม Learning unit 4 : นโยบายการเงิน การคลังกับการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ

[แจกใบงาน] การคิดดอกเบี้ยในชีวิตจริง ขอบคุณ  Witranan Nanthaphasuk  คลิก

เราจะสอนดอกเบี้ยและมูลค่าของเงินสมบูรณ์ได้อย่างไรถ้าไม่ได้ลองนำไปใช้จริง งานนี้เลยเป็นการให้นักเรียนคิดดอกเบี้ยเงินฝากในชีวิตจริงเลย หลังจากที่สอนสูตรการคำนวณดอกเบี้ยคงต้นและทบต้นไปแล้วก็คิดว่าเราจะพานักเรียนไปดูระบบเงินฝากในชีวิตจริง โดยผมเลือกอัตราดอกเบี้ยเงินฝากของธนาคารแห่งหนึ่งมาเป็นตัวอย่าง จุดที่น่าสนใจและหลายคนยังไม่ทราบคือฝากประจำจะคิดดอกเบี้ยทบต้นเมื่อครบเวลาฝาก ส่วนบัญชีออมทรัพย์จะคิดดอกเบี้ยทบต้นทุก 6 เดือน โดยเริ่มจากการให้นักเรียนศึกษาเอกสารอัตราดอกเบี้ยเงินฝากของธนาคารก่อนแล้วจึงอภิปราบกันว่าสังเกตเห็นอะไรบ้าง แล้วจึงให้นักเรียนทำโจทย์แบบละคนซึ่งทำให้นักเรียนลอกกันได้ลำบาก หลังจากที่นักเรียนได้คำตอบแล้วก็ชวนมาอภิปรายกันว่าใครได้ดอกเบี้ยเท่าไหร่ ใครได้เยอะที่สุด เพราะเหตุใดมีปัจจัยใดบ้างที่ส่งผลต่อดอกเบี้ย รวมไปถึงคำถามสำคัญที่ว่านักเรียนคิดว่าเพราะเหตุใดบัญชีฝากประจำระยะยาวจึงมีอัตราดอกเบี้ยสูงกว่าบัญชีเงินฝากออมทรัพย์หรือการฝากประจำระยะสั้น