บทเรียนออนไลน์ ส 30228  กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/6

Learning unit 4 : กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ บรรพ 3 เอกเทศสัญญา

นายมงคล สุขีลักษณ์  กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม โรงเรียนวัชรวิทยา

สำหรับการจัดการเรียนการสอนภายในโรงเรียน (@wr.ac.th) เท่านั้น

Learning unit 4 :  กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ บรรพ 3 เอกเทศสัญญา

สำหรับครูนายใช้สอน

เอกเทศสัญญา (specific contract) หรือสัญญามีชื่อ (nominate contract) คือ สัญญาประเภทที่กฎหมายกำหนดชื่อและกฎเกณฑ์ไว้ป็นพิเศษ ดังนั้น สัญญาทั่วไปที่ไม่ปรากฏชื่อตามกฎหมายจึงเรียก "สัญญาไม่มีชื่อ" (innominate contract)

ปฎิบัติการร่างสัญญาและสถานการณ์สำหรับวินิจฉัย  Learning unit  4 : กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ บรรพ 3 เอกเทศสัญญา 

นักเรียนแต่ละคน/คู่/กลุ่ม จะต้องดำเนินการทำ ดังต่อไปนี้

ทั้งนี้ตามข้อ 1 หรือ 2 เนื้อหาต้องครบถ้วน สมบูรณ์ และครอบคลุมในเนื้อหาที่ได้รับ

ทั้งนี้ สามารถนำเสนอ หรือส่งคลิปได้ตั้งแต่บัดนี้ จนถึง 19 กันยายน 2566 เท่านั้น เนื่องจากเพื่อนนักเรียนคน/คู่/กลุ่มอื่น จะต้องนำความรู้ไปสรุปลง Mindmap

เอกสารประกอบการเรียน และ PowerPoint ประกอบการเรียนรู้  Learning unit  4 : กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ บรรพ 3 เอกเทศสัญญา  

โดยคณะนิติศาสตร์ในประเทศไทยจะศึกษาเอกเทศสัญญาตามลำดับดังต่อไปนี้  (สามารถคลิกที่ชื่อลักษณะกฎหมาย เพื่อเปิดไฟล์ PDF สำหรับศึกษาเนื้อหา)

สื่อการสอน MS PowerPoint Learning unit 4  :  กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ บรรพ 3 เอกเทศสัญญา

หน่วย 4 เอกเทศสัญญา ฉบับทำ หน้า 1 - 70.pdf

กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ บรรพ 3 เอกเทศสัญญา หน้าที่ 1 - 70 คลิกเพื่อดาวน์โหลด

หน่วย 4 เอกเทศสัญญา ฉบับทำ หน้า 71 - 170.pdf

กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ บรรพ 3 เอกเทศสัญญา หน้า 71 - 170  คลิกเพื่อดาวน์โหลด

"สัญญาต้องเป็นสัญญา" เมื่อการทำธุรกรรมต่าง ๆ ในทางธุรกิจครอบคลุมไปได้ทั่วโลกและไม่ติดข้อจำกัดในเรื่องของเวลาและสถานที่ ทำได้ทุกที่ทุกเวลา ผ่านออนไลน์ ทำให้ธุรกรรมต่าง ๆ รวมทั้ง อีคอมเมิร์ซ หรือ การซื้อขาย ได้ขยายตัวและเติบโตอย่างรวดเร็ว

เมื่อเป็นออนไลน์ เมื่อไร ที่ไหนล่ะที่เกิดเป็นสัญญา 

หลักการสำคัญประการหนึ่งตามพระราชบัญญัติว่าด้วยธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ฯ ที่เกี่ยวข้องกับการทำสัญญาเป็นข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ที่กำหนดไว้คือ คำเสนอหรือคำสนองในการทำสัญญาอาจทำเป็นข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ก็ได้ ห้ามมิให้ปฏิเสธการมีผลทางกฎหมายของสัญญาเพียงเพราะเหตุที่สัญญานั้นได้ทำคำเสนอหรือคำสนองเป็นข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์

ดังนั้นในการทำสัญญาทางอิเล็กทรอนิกส์ จึงได้รับการยอมรับถึงผลทางกฎหมายที่คู่สัญญาต้องมีความผูกพันตามสิทธิหน้าที่ ตลอดจนความรับผิดที่เกิดจากสัญญานั้น ๆ

หนังสือ "สัญญาต้องเป็นสัญญา" จะกล่าวถึงลักษณะของการทำสัญญา เพื่อทำความเข้าใจเบื้องต้นโดยการอธิบายลักษณะของการแสดงเจตนาทำสัญญาทางอิเล็กทรอนิกส์มีลักษณะอย่างไร เพื่อการพิจารณาถึงผลของการแสดงเจตนาทางอิเล็กทรอนิกส์ (การแสดงเจตนาทางออนไลน์) การก่อให้เกิดสัญญาอิเล็กทรอนิกส์จะเกิดขึ้นเมื่อไรและที่ใด การกำหนดรายละเอียดข้อสัญญาในกรณีตัวอย่างของสัญญาซื้อขายสินค้าและบริการทางอิเล็กทรอนิกส์ หรือการซื้อขายทางออนไลน์ในประเด็นของการคุ้มครองผู้บริโภคในเรื่องของข้อสัญญาที่ไม่เป็นธรรม และประเด็นสุดท้ายกล่าวถึงการดำเนินการระงับข้อพิพาท

#สัญญาออนไลน์ #GoDigitalWithETDA   คลิก

วีดีโอสื่อการสอน youtube Learning unit 4 : กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ บรรพ 3 เอกเทศสัญญา

สื่อการเรียนรู้ด้วยตนเอง

หน่วยงานทางกฎหมาย

ฟังบรรยายกฎหมาย

#ไม่อยากอ่านฟังทางนี้  ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์

บรรพ ๑ https://youtu.be/x0mjVzd-ABU

บรรพ ๒ https://youtu.be/ZT0rt2_e7jA

บรรพ ๓ https://youtu.be/wQNWwNZmBoQ

บรรพ ๔ https://youtu.be/cPpEQmaw_PY

บรรพ ๕ https://youtu.be/-Q68UM0VHcg

บรรพ ๖ https://youtu.be/D1V-BKLmJHA 

คลิกเพื่อเปิดเว็บไซต์ เอกสารประกอบคำบรรยาย ภาคเรียนที่ 1 สมัยที่ 73

สรุปย่อภาษี by Rainnie’sStudyLaw .pdf
สรุปย่อซื้อขาย By Rainnie’sStudyLaw .pdf